ขยะอิเล็กทรอนิกส์ ทิ้งแล้วไปไหน ? เปิดเส้นทางกำจัดขยะมือถือที่ไม่ทิ้งซากเป็นขยะฝังกลบ
เวลาเราเปลี่ยนมือถือใหม่ มือถือเก่าที่เราใช้อยู่เราจัดการกับมันอย่างไร
ถ้ามือถือยังใช้ได้อยู่ เราอาจส่งต่อให้คนอื่นใช้ต่อ
แต่ถ้ามือถือที่เสื่อมสภาพใช้การไม่ได้ ตายจากไปและกลายเป็นซากมือถือที่ทำอะไรไม่ได้แล้วล่ะ
เราเอาไปไหน
ทิ้งขยะ ตามถังขยะทั่วไป
ทิ้งในจุดรับขยะจากมือถือ
ถ้าคุณเลือกแบบแรก โอกาสของขยะมือถือจะถูกนำไปฝังกลบเพื่อทำลายรวมกับขยะอื่น ๆ ที่อยู่ในถังขยะเดียวกัน อาจมีสูง และการฝังกลบนี้สารพิษต่าง ๆ ที่อยู่ในมือถือแพร่กระจายออกมายังดินที่ฝังกลบ มีโอกาสรั่วไหลไปยังน้ำใต้ดิน จากการฝังกลบที่ไม่ดีพอ
นี่คือการกำจัดขยะมือถือและ ขยะอิเล็กทรอนิกส์ ที่ผิด
แต่ถ้ามือถือของเราทิ้งจุดรับทิ้งขยะมือถือ มือถือจะเดินทางไปยังโรงงานขยะ แยกชิ้นส่วน เพื่อนำขยะเหล่านี้ส่งไปกำจัดอย่างถูกต้อง
วันนี้ Marketeer ตามดีแทคมาโรงงาน TES ซึ่งเป็นโรงงานแยกขยะมือถือในอยุธยา เพื่อเกาะติดชีวิตมือถือเก่า ว่ามือถือที่ตายจากการใช้งานของเราไปไหนต่อ


และเขามีวิธีชำแหละและแยก ขยะอิเล็กทรอนิกส์ ขยะมือถืออย่างไร โดยไม่มีการฝังกลบ และสามารถนำโลหะที่มีค่าในขยะมือถือ เช่น ทองคำ ทองแดง พาราเดียม เหล็ก อะลูมิเนียม ลิเทียม และวัสดุประเภทพลาสติก เพื่อนำไปใช้ในการผลิตสินค้าใหม่ต่อไป

การจำกัดขยะมือถือของโรงงาน TES เมื่อได้มือถือที่ตาย
โดยสามารถแยกออกมาได้เป็น
พลาสติก
แผงวงจร
แบตเตอรี่
กล้อง
จอ
อะลูมิเนียมเฟรม
และอื่น ๆ
เช่น การแยกโลหะมีค่าออกจากขยะมือถื
อย่างบอร์ดแผงวงจรมือถือ ในนั้นมีขยะที่มีค่าอย่างทองคำ โดยบอร์ด 1,000 กิโลกรัม สามารถแยกเป็นทองคำได้ 1 กรัม
และใครจะเชื่อล่ะว่าอย่างแบตเตอรี่ที่อาจจะบวม หรือใช้การไม่ได้แล้วก็สามา
เสร็จแล้วนำไปบรรจุใส่กล่อง
เท่ากับว่ามือถือที่ตายไปไม่ตายเสียเป
ส่วนข้อมูลต่าง ๆ ในมือถือ TES บอกว่าไม่มีหลุดแน่นอน เพราะมีการจัดการล้างข้อมูลในเครื่องเรียบร้อยก่อนทุกครั้ง
อัพเดตข่าวสารการตลาดทุกวันได้
Website : Marketeeronline.co /
อัพเดตข่าวสารการตลาดทุกวันได้ที่ Website: Marketeeronline.co
Facebook: www.facebook.com/marketeeronline



